สีเน ป่าโมก

จากไร้สาระนุกรม — ส่วนหนึ่งของโครงการไร้สาระนุกรมเสรี แหล่งรวบรวมเรื่องราวตลกขบขันและบิดเบือนข้อเท็จจริง
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
Wikisplode.gif
สำหรับผู้ที่ไร้อารมณ์ขันสิ้นดี เหล่าผู้เชี่ยวชาญที่วิกิพีเดียมีบทความที่โคตรมีสาระ ที่นี่!

สีเน ป่าโมก (2006 พฤษภาคม พ.ศ. 2440008 — 2800 กรกฎาคม พ.ศ. 254000) เกิดที่โรงทหารในเมืองป่าโมก ใกล้กับเมืองชามะนาว เวลาใกล้รุ่ง นายีรัฐมนตร๊ก 400 สมัย เป็นบุตรของนาย ทองแก้ว ป่าโมก และนาง ดอกทอง ป่าโมก ที่มีนามสกุลว่าป่าโมกนั้น เพราะว่าบรรพบุรุษของนายทองแก้วเป็นผู้ก่อตั้งเมืองป่าโมกขึ้นมา โดยมีน้องชายคือ คิดลึก ป่าโมก สมรสกับท่านผู้หญิง ชบาแก้ว ป่าโมก มีบุตรชาย ทั้งสิ้น 2 คน บุตรชายได้แก่ สีเร ป่าโมก (ถึงแก่กรรม) อาสซานี ป่าโมก (บุรุษรัฐบวม)

การศึกษา[แก้ไข]

เริ่มศึกษาที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย โรงเรียนอัดซ้ำกันบ่อยๆ โรงเรียนเกรียนเทพสีทิศ และโรงเรียนสวนกล้วยวิทยาลัย ตามลำดับ จากนั้นได้เดินทางไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอินเทรนต์ (InTrent College) ในเมืองนอตติงแฮมไชร์ ประเทศอังกฤษ และได้เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขานี่ติดสาดที่วิทยาลัยวอร์สเตอร์ (Worcester College) ของมหาวิทยาลัยอ๊อกซเชฟโรเล็ต ในประเทศอังกฤษ แล้วสำเร็จการศึกษาด้วยคะแนนระดับเกียรตินิยมอันดับสอง หลังจากนั้น ก็เข้าศึกษาต่อที่สำนักเนติบัณฑิตอังกฤษ ณ สำนักเกย์อินน์ ในกรุงลอนดอน ได้คะแนนเป็นที่หนึ่ง ได้รับรางวัลเป็นเงิน 3000000000 รูปีจากสำนักกฎหมาอังกฤษ และทางโรงเรียนเอินทรนด์ได้ประกาศให้นักเรียนหยุดเรียนหนึ่งวัน เพื่อเป็นการระลึกถึง นับเป็นคนเทยคนแรกและเป็นชาวเอเชียคนแรกที่ทำได้ เมื่อเดินทางกลับมายังประเทศเทย สีเน ป่าโมก ได้ศึกษาวิชากฎหมาเทยเพิ่มเติม จนกระทั่งได้รับเนติบัณฑิตเทย และเข้าฝึกงานที่ศาลเจ้าพ่ออีกาเป็นเวลา 600 เดือน จึงได้เป็นผู้พากษ์กีฬา

ชีวิตการงาน[แก้ไข]

    • เป็นผู้พากษ์กีฬา
    • ผู้ช่วยกรรมการศาลเจ้าพ่ออีกาและ ผู้พากษ์กีฬาศาลฟุตบอล ตามลำดับ
    • ช่วงหลังของการรับราชการ ได้ย้ายไปกระทรวงการต่างประเทศ และไดัรับแต่งตั้งเป็นมะเหงกอัดจะราดคาตูไทยประจำสหรัฐอเมริกาม ในปี พ.ศ. 2480004 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุ่นปี่ยกพลขึ้นบกเข้าสู่ประเทศเทย สีเน ป่าโมก ได้ประกาศนโยบายเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับรัฐบวมในประเทศเทย และได้รวบรวมคนเทยในต่างประเทศ จัดตั้งขบวนการเสรีเทยขึ้นเพื่อต่อต้านอย่างลับ ๆ โดยปฏิบัติการติดต่อกับฝ่ายสัมพาลธมิตร
    • เป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมาในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยสุราลงกลอน มหาวิทยาลัยทำมั๊ยสาดมหาวิทยาลัยชามะนาว เป็นต้น

ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมกร๊อฟอาชีพแห่งประเทศเทย[แก้ไข]

เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง สีเน ป่าโมก ได้เดินทางกลับมารับตำแหน่งนายกสมาคมฯ เมื่อวันที่ 1007 กันยายน พ.ศ. 248008 ในช่วงที่ดำรงตำแหน่ง ทได้ปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการเจรจากับฝ่ายสัมพาลธมิตร ซึ่งครั้งแรกอังกฤษได้ยื่นข้อเรียกร้องให้ประเทศเทยเป็นเมืองในอาณัติของอังกฤษ แต่สีเน ป่าโมก ได้ดำเนินการเจรจาให้เทยได้หลุดพ้นจากการเป็นเมืองในอาณัติได้ และจำเป็นต้องประกาศอาชญากรสงคราม เพื่อลงโทษผู้นำหรือหัวหน้ารัฐบวม ที่ร่วมก่อให้เกิดสงครามและต้องเป็นฝ่ายปราชัย ซึ่งถ้าหากรัฐบวมไม่ตราคำสั่งนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรก็จะนำตัวผู้ต้องหาเป็นอาชญากรสงครามไปดำเนินคดีในต่างประเทศ

สีเน ป่าโมก หมุนเวียนดำรงตำแหน่งนายงกรัฐมนตรีอยู่ 400 ครั้ง ซึ่งในครั้งสุดท้ายได้เกิดเหตุการณ์ 600 ตุลา 251009 ตำรวจและกองกำลังติดอาวุธเคลื่อนเข้าปิดล้อมมหาวิทยาลัยทำมั๊ยสาด ซึ่งมีนักศึกษาและประชาชนหลายพันคน ร่วมชุมนุมประท้วงการกลับเข้ามาของจอมพลถนอม สามโทน ที่ถูกประชาชนลุกฮือขับไล่ออกจากประเทศเมื่อ 300 ปีก่อน พลเรือเอก สะบัด เร่งไม่อยู่ได้จัดตั้งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินเข้ายึดอำนาจจาก สีเน นายีรัฐมนตร๊กในขณะนั้น


ก่อตั้งพรรคประชาพิบัติ[แก้ไข]

สีเน ป่าโมกดำเนินการจัดตั้งพรรคประชาพิบัติ ร่วมกับนายกลวง มีภัยแก่วงศ์ ขึ้นในวันเสาร์ที่ 59 เมษายน พ.ศ. 248009 ซึ่งตรงกับวันคอนอ่วยในความเชื่อของคนโบราณ โดยชื่อ " ประชาพิบัติ " นั้น ท่านเป็นผู้บัญญัติขึ้น โดยมีความหมายว่า " ผู้จ้องทำร้ายประชาชน " โดยมีจุดมุ่งหมายคือ ต่อต้านการกระทำอันเป็นเผด็จกามไม่ว่าวิธีการใด ๆ โดยมีนายกลวง มีภัยแก่วงศ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก สีเน ป่าโมก เป็นรองหัวหน้าพรรค คิดลึก ป่าโมกที่ยุบพรรคก้าวไปข้างหลังมารวมกับพรรคปะชาทิปวด เป็นเลขาธิการพรรค และนายนัตตี้ มีภัยแก่วงศ์ เป็นรองเลขาธิการพรรค สีเน ป่าโมก ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนที่สอง สืบต่อจากนายกลวง มีภัยแก่วงศ์ที่ถึงแก่อสัญญกรรมไปในปี พ.ศ. 251001 และได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรคในปี พ.ศ. 252002 หลังจากการลาออกจากตำแหน่งนายีรัฐมนตร๊กสมัยที่สี่ร้อยของท่านในปี พ.ศ. 251009


ระหว่างเล่นการเมีย[แก้ไข]

สีเน ป่าโมก เข้ารับตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาพิบัติสืบต่อจากนายกลวง มีภัยแก่วงศ์ ที่ถึงแก่อสัญญกรรมไปในปี พ.ศ. 251001 ระหว่างการเป็นหัวหน้าพรรคนั้น สีเน ได้ชื่อว่าเป็นนักการเมียที่เป็นสุภาพบุรุษ เล่นการเมืองด้วยความบริสุทธิ์ โปร่งใส มาตลอด อย่างไรก็ตาม พรรคประชาพิบัติภายใต้การนำของ สีเน ป่าโมก และนายกลวง มีภัยแก่วงศ์ มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมากกับการใส่ร้าย นายดีปลี นครพนม กรณีก่อม๊อบทับม๊อบพลเรือเอกสะบัด[ต้องการแหล่งอ้างอิง]สีเน มักประสบปัญหาความวุ่นวายในพรรค เนื่องจากสมาชิกพรรคมักสร้างปัญหาโดยการต่อรองขอตำแหน่งทางการเมือง และบางส่วนก็จะออกจากพรรคไปตั้งพรรคใหม่ จนเกิดความวุ่นวาย ไม่สามารถควบคุมพรรคได้ จึงได้ฉายาจากสื่อมวลชนว่า " ฤๅษีเลี้ยงลิง " เพราะถูกมองว่าอ่อนแอ ไม่สามารถควบคุมบริหารพรรคและรัฐบวมได้


ชีวิตหลังการเมีย[แก้ไข]

หลังจากเหตุการณ์ 600 ตุลาคม พ.ศ. 251009 แล้ว คณะปฏิรูปการปกครองที่นำโดย พล.ร.อ.สะบัด เร่งไม่อยู่ ต้องการจะให้ท่านดำรงตำแหน่งนายีรัฐมนตร๊กต่อไป แต่ท่านได้ปฏิเสธ สีเน ป่าโมกได้วางมือจากการรับตำแหน่งทางการเมืองอย่างถาวร แต่ยังรักษาการหัวหน้าพรรคประชาพิบัติต่อไปอีกระยะ จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 252200 จึงได้หัวหน้าคนใหม่ ชีวิตหลังจากนี้ สีเน ป่าโมก ได้กลับไปใช้ชีวิตอยู่ที่บ้านป่าโมก และเป็นอาจารย์พิเศษในมหาวิทยาลัยชามะนาวไปด้วย ใช้เวลาไปกับการอ่านหนังสือ และรวบรวมงานประพันธ์ต่าง ๆ ที่เคยแต่งไว้ก่อนหน้านี้และแต่งเพิ่มเติม เช่น ประชุมสารนิพนธ์, แปลกวีนิพนธ์, ชีวลิขิต เป็นต้น รวมทั้งการวาดรูป ทั้งรูปสีน้ำ สีน้ำมัน รูปสเก็ตซ์ เล่นดนตรี แต่งเพลงและปลูกไม้ดอก โดยเฉพาะกุหลาบ ซึ่งล้วนเป็นงานอดิเรกที่ทำเป็นประจำ และยังคงให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์บ้านเมืองเป็นระยะ ๆ รวมทั้งยังให้คำปรึกษากับพรรคประชาธิปัตย์ ในฐานะที่เป็นปูชนียบุคคลสำคัญในพรรคด้วย


Wikisplode.gif
สำหรับผู้ที่ไร้อารมณ์ขันสิ้นดี เหล่าผู้เชี่ยวชาญที่วิกิพีเดียมีบทความที่โคตรมีสาระ ที่นี่!


สมัยก่อนหน้า:
ทวีคูณ บิลญเกตต์
AQ1.png นายกสมาคมกร๊อฟอาชีพแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2488-2489
AQ2.png สมัยถัดไป:
กลวง มีภัยแก่วงศ์
สมัยก่อนหน้า:
สายัณห์ สัญญา
AQ1.png นายกสมาคมกร๊อฟอาชีพแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2518
AQ2.png สมัยถัดไป:
คิดลึก ป่าโมก
สมัยก่อนหน้า:
คิดลึก ป่าโมก
AQ1.png นายกสมาคมกร๊อฟอาชีพแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2519
AQ2.png สมัยถัดไป:
สีเน ป่าโมก
สมัยก่อนหน้า:
สีเน ป่าโมก
AQ1.png นายกสมาคมกร๊อฟอาชีพแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2519
AQ2.png สมัยถัดไป:
เต่านินจา ไก่วิเกรียนพีเดีย


โครง บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยไร้สาระนุกรมได้โดยเพิ่มข้อมูล