การ์ตูนที่ดี
การ์ตูนที่ "ดี" คือคำจำกัดความเชิงนิยามที่ใช้ในการบ่งบอกถึงการ์ตูนที่สมควรจะหามาอ่าน โดยบางครั้งไม่ต้องไปสนใจเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม ขอแค่ได้ดูก็รู้สึกได้ว่ามัน "ดี" ก็พอแล้ว
ส่วนประกอบของการ์ตูนที่ดี[แก้ไข]
เมื่อการ์ตูนที่ดีเป็นคำจำกัดความเชิงนิยามแบบกว้างๆ การกำหนดส่วนประกอบเป็นข้อๆ ไปนั้น ให้โอกาสเปิดกว้างแก่ส่วนประกอบแทบทุกอย่าง ตั้งแต่การ์ตูนตาหวาน ไปจนถึง การ์ตูนแนวคอแข็ง อย่างพวก ปกขาว หรือจาก 4 ช่องเฮฮา ไปจนถึงนิยายดราม่า ถกเครียด
ส่วนมากผลงานของยุ่นปี่ จะเป็นผู้ครองตลาดหลัก
ความหมายของดี รูปแบบที่ 1[แก้ไข]
"ดี" รูปแบบที่ 1 หมายถึงเป็นหนังสือการ์ตูนที่ไม่มีพิษมีภัย ใครก็อ่านได้ และให้ประโยชน์บ้างพอสมควร
ผลงานจำพวกนี้ก็น่าจะประมาณซักนิทานอีสปอะไรเทือกนี้
ความหมายของดี รูปแบบที่ 2[แก้ไข]
รูปแบบที่ 2 มักจะใช้กล่าวเป็นนัยๆ ว่าตัวละครหญิงในเรื่องนั้น ๆ เป็นโรคปอดบวมระยะกลาง ซึ่งดู "ดี" (วัดด้วยสเกล คัพ) ในสายตาของผู้อ่าน (ซึ่งเป็นชายเสียส่วนใหญ่)
ความหมายของดี รูปแบบที่ 3[แก้ไข]
รูปแบบที่ 3 กล่าวเหมารวมๆ เป็นนัยว่าสมควรจะหามาอ่าน ซึ่งนัยที่ว่านั้นรวมถึงหนังสือหื่นและการ์ตูนโป๊
ความหมายของดี รูปแบบที่ 4[แก้ไข]
รูปแบบที่ 4 ต้องสร้างมาเพื่อสนองความต้องการของโอตาคุให้มากๆ เพราะท่านคือ ลูกค้ารายใหญ่ ในตลาดการ์ตูนระดับโลก
ตัวอย่างการ์ตูนที่ดี[แก้ไข]
- คานมคร่อม (คาดว่าเกิน"ดี"แล้วหละ นางเอกแกใหญ่ขนาดนั้น)
- ยัยตัวร้าย กับนายเจี๋ยมเจี้ยม (ภาษายุ่นปี่แปลได้ว่า เวลาเด็ก)
- To love รู
- เนกิมะ
- หนุมานพบเจ็ดยอดมนุษย์
- หนุมานพบสิบเอ็ดยอดมนุษย์
- จัมโบ้เอ
- สิงห์จำแลง
- เจ้าหนูสิงห์นักเตะ
- เจ้าหญิงนิทรา
- กล้วยหอมจอมซน
- ไดมอส ยอดขุนพล
- กระรอกน้อยในป่าใหญ่
- เทพนิยายกริมส์
- อ้วนผอมจอมยุ่ง
- เณรน้อยเจ้าปัญญา
- กาแลคซี่ 999 รถด่วนอวกาศ
- นินจาอาราชิ
- ดราก้อนบอล
- บาบา ปาป้า
- วีดีโอเกิร์ล
- และอื่นๆอีกมากมาย